เป็น Blogger สำหรับผู้ที่เริ่มศึกษา Google Adsense เป็นบันทึกเรื่องที่ one2Blogger สนใจ
วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2554
แนวคิดการสร้างราย
ไปอ่านเจอมา เป็นแนวคิดที่ดีและทำให้มองภาพออก ลองอ่านดูนะ
ทำให้ผมคิดถึงเรื่องหนึ่งขึ้นมาได้ ที่น่าเชื่อว่ายังไม่มีใครโพสลงมาแน่นอน นั้นคือ เรื่องของของที่มาของรายได้ ครับ
ไม่มีใครปฏิเสธว่า คนเราทุกคนนั้นยากได้เงินกันทั้งนั้น เพื่อมาใช้ดำรงชีวิตกันทั้งนั้น แต่เรื่องของรายได้และรายจ่ายของเรานี้ซิปัญหาหลักของทุกวันนี้ คนเราส่วนมากมันจะพึงพารายได้จากเงินในกระเป๋าหลักของเรา นั้นคือ การทำงานหลัก และมีเงินจากการลงทุนบ้างเล็กๆน้อย และมีรายได้หลากหลายมากขึ้น จนมีอิสรภาพทางการเงิน นั้นคือ การมีกระเป๋าหลายใบหรือเงินจากหลายกระเป๋าเรานั้นเอง
รายได้ของเรานั้นมีด้วยกันมาจาก 3 ทาง
1.รายได้จากงาน
2.รายได้จากการลงทุน
3.รายได้ที่ไหลมาเอง
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554
วิธีสมัคร Fanpage กับ Facebook
รู้จัก Fanpage กันก่อนนะคะ
ในช่วงนี้ที่ Social Network กำลังมาแรง ซึ่งแทบทุกคนจะต้องรู้จัก “Facebook” และติดหูกับการกด Like ไม่มากก็น้อย ซึ่งคำว่า Fanpage ในความคิดออฟก็เหมือนเป็นเว็บแฟนคลับนั่นแหละค่ะ เป็นหน้าเว็บให้คนทีเป็นแฟนคลับของเรานั้นสามารถติดตามความคืบหน้าและการอัพเดตของเราได้อย่างเรียกได้ว่าเกาะติดสถานการณ์กันสุดๆ หรือถ้าในมุมมองของเจ้าของเว็บนั้นก็อาจจะใช้ Fanpage เอาไว้กระจายข่าวสาร ประชาสัมพันธ์เรื่องต่างๆ ให้กับคนที่สนใจอยู่ก็ได้ค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2554
เตือน ! อีก 2 เดือน พ่อแม่ต้องเอาลูก 7 ขวบ ป. 1
เตือน ! อีก 2 เดือน พ่อแม่ต้องเอาลูก 7 ขวบ ป. 1
ไปทำบัตรประชาชนให้เรียบร้อย เสียดีๆ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันที่ 11 พ.ค. 2554 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ พระราชบัญญัติ บัตรประจำตัวประชาชน
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 โดยกฎหมายฉบับนี้ จะมีผลบังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (วันที่ 9 กรกฎาคม 2554 )
สาระสำคัญของกฎหมายคือ การกำหนดให้ ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดปีบริบูรณ์
แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีชื่อในทะเบียนบ้านต้องมีบัตรตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้
ทั้งนี้ บัตรให้ใช้ได้นับแต่วันออกบัตรและมีอายุแปดปีนับแต่วันเกิดของผู้ถือบัตรที่ถึงกำหนด
ภายหลังจากวันออกบัตร
บัตรที่ยังไม่หมดอายุในวันที่ผู้ถือบัตรมีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ ให้ใช้บัตรนั้นต่อไปได้ตลอดชีวิต
สำหรับ อัตราค่าธรรมเนียม
(1) การออกบัตร ฉบับละ 100 บาท
(2) การออกใบแทนใบรับ ฉบับละ 10 บาท
(3) การขอคัดและรับรองสำเนาข้อมูลเกี่ยวกับบัตร ฉบับละ 10 บาท
ที่มา : http://www.tanawitcentertravel.com/smfrc1/index.php?topic=43.0
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)